พี่น้องเรื่อยมา และทั้งสองท่านหวงและอาลัยบ้านทั้งสองหลังนี้มาก ในส่วน ลึกของหัวใจแล้ว ไม่อยากจะขายหรือให้ใครครอบครอง เพราะเป็นทรัพย์ที่ ลํ้าค่า สิ่งเดียวในชีวิตของทั้งสองท่านที่เหลืออยู่ ณ เวลานั้น โดยหาสิ่งใด เรือยางมือหนึ่ง เปรียบปรานมิได้ และทั้งสองยังระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่ตลอดเวลาไม่เคยลืมเลือนและบ้านทั้ง สองหลังนี้ก็คือ ตัวแทนของพระองค์ที่ไม่เคยเลือนจากไปไหนแต่เมื่อถึงคราวคับขัน และไม่สามารถแบกรับภาระที่มากมายเกิน กำลังไว้ได้ ทั้งสองท่านก็เห็นว่า ควรให้ทรัพย์สมบ้ตินี้ ตกแก่คนรุ่นหลัง ช่วง หน้าที่จะขายเปลี่ยนมือให้กับรัฐบาลสมัยนั้นไป ทั้งลองท่านรำพึงเสียงเครือ ด้วยสีหน้าเศร้าสลด นํ้าตาเอ่อท้นคลอเบ้า ว่า “เคยเป็นที่อยู่ที่กินที่หลับนอน แต่วันหนึ่งก็ต้องจากกันไป แต่ถ้าไปแล้วมีสภาพที่ดีกว่าเขาดูแลรักษาได้ ก็ น่าจะปล่อยไปไม่มีอะไรที่เป็นของๆ เรา เขามีบุญอยู่กับเราเพียงเท่านี้ ดูแล รักษามาได้จนถึงขนาดนี้ ก็นับว่าเป็นบุญล้นฟ้าแล้ว”ปัจจุบันบ้านทั้งสองหลังก็ใซ้เป็นสถานที่สำคัญของทางราชการ ซื่งอยู่'ในความดูแลของสำนักนายกรฐมนตรี ขณะเดียวคันบริเวณนั้น กาลเวลาผ่านไป ความเจริญก็เข้ามาเยือน มีถนนใหญ่คัดผ่านการ สัญจรดีขึ้นตามลำดับ และ 2 ข้างทางได้รายรอบไปด้วยชุมซนหนา แน่นไปเสียแล้ว จึงขายบ้านท่าเกษม ให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย หรือปัจจุบัน เป็นโรงพิมพ์ธนบัตร ท้ายที่สุดในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระราชทานบ้าน ให้พำนัก ที,ถนนเจริญนคร ฝังธนบุรี ท่านขนานนามบ้านหลังนี้ว่า บ้านพระ ขรรค์ชัยศรี และพำนักอยู่ที่นี่จนถึงแก,อสัญกรรม ด้านการเมือง เรือยางลายทหาร ท่านได้รับ ตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรี เทศบาลนครกรุงเทพ คนแรก ปี 2480เมื่อพ้นจากตำแหน่งนายกเทศมนตรีแล้ว ก็เป็นข้าราชการบำนาญ และเป็นที่ปรึกษาราชการในพระราชสำนักต่อมาจนสมัยสงครามโลกครั้งที่2 พ.ศ. 2506 ในหลวงรัชกาลปัจจุบัน ทรงโปรดให้ท่าน รับราชการในตำแหน่ง สมุหราชวังและประธานกรรมการพระราชสำนัก นอกจากนั้นท่านได้สนอง พระเดชพระคุณในงานต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ!ชกาลที่ 6 หลายหน้าที่ เช่นนายก สภาลูกเสือแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและอุปนายกในคณะกรรมการ อำนวยการวชิราวุธวิทยาลัย และยังเป็นประธานกรรมการในบริษัทเอกชน อีกหลายบริษัท ทีสำคัญคือเป็นผู้ริเริมจัดตังธนาคารกรุงเทพ ทีเห็นในปัจจุบัน โดยสมรสพระราชทานกับ คุณหญิงประจวบ สุขุม ธิดาของมหา อมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช และท่านผู้หญิง ตลับ สกุลเดิม ณ ป้อมเพ็ชร เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2467 มีบุตรธิดา 2 คน คือ รุจิรา อมาตยกุล มานน พึ่งบุญ ณ อยุธยา นอกจากนี้ยังมืบุตรกับภรรยา แพยางติดเครื่องยนต์ ท่านอื่นอีกหลายคน ใน ช่วงบั้นปลายชีวิตนอกจาก การรับราชการแล้วท่านเจ้าพระยารามราฆพ ก็ใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ท่านมีกิจวัตรประจำ วันคือ การจดบันทึก ซึ่งทำมาตั้งแต่สมัยมัธยมวัย จนถึงแก่อสัญกรรม นอกจากนี้ก็เพลิดเพลินอยู่กับการดูแลเรือ ทั้งเรือยนต์เรือกลอันเป็น ของ ชอบของท่าน ตั้งแต่ยังรับราชการ และไปพักตากอากาศที่จังหวัดประจวบ- ดีรีขันธ์ทุกปี ท่านถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจ ณ ตึกธนาคารกรุงเทพ โรง พยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 สิริรวมอายุได้ 77 ปี
เรือยาง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น